ย้อนอดีตน้ำท่วมกรุง 2328-2554 ปัญหาซ้ำซากไร้ทางออก
สำหรับคนกรุงเทพมหานคร ที่กำลังเกิดกระแสข่าวลือว่า "กรุงเทพฯจมแน่" ประกอบกับน้ำที่ทะลักเข้าตี โอบรอบกรุง ทั้ง จ.นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี ข้อมูลจาก หนังสือเหตุการณ์น้ำท่วม พ.ศ.2485 ของกระทรวงมหาดไทย และจากข้อมูลสถิติน้ำท่วมสำนั กระบายน้ำกรุงเทพมหานคร พบว่า สาเหตุที่กรุงเทพฯ ต้องเจอปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก เพราะสภาพภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่ ราบลุ่มตอนปลายอ่าวไทย
เพราะด้วยเหตุนี้กรุงเทพฯ ในอดีตจึงมากไปด้วยคูคลอง จนได้รับการเรียกขานกันว่าเป็น "เวนิชตะวันออก"และเหตุการณ์น้ ำท่วมครั้งสำคัญในกรุงเทพฯ ตั้งแต่กรุงรัตนโกสินทร์จนถึงปั จจุบัน เกิดขึ้นหลายครั้ง ดังนี้
1. ปีมะเส็ง ปี 2328 ในรัชกาลที่ 1 ปีที่สร้ างกำแพงพระนครและพระราชวังกรุ งรัตนโกสินทร์เสร็จ ได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ ระดับน้ำที่สนามหลวงลึกถึง 8 ศอก 10 นิ้ว
2. เดือนตุลาคม ปี 2362 ในรัชกาลที่ 2 ข้าวยากหมากแพงเหมือนครั้งแรก
3. เดือนพฤศจิกายน ปี 2374 ในรัชกาลที่ 3 ท่วมทั่วพระราชอาณาจักร และมากกว่าปีมะเส็ง
4. ปี 2460 ในรัชกาลที่ 6 น้ำท่วมลานพระบรมรูปทรงม้า จนมีกิจกรรมการแข่งเรือ
5. ปี 2485 เริ่มท่วมตั้งแต่ปลายเดือนกั นยายนถึง 30 พฤศจิกายน 2485 น้ำท่วมมากกว่าปี 2460 เกือบเท่าตัว เนื่องจากฝนตกหนักในลุ่มแม่น้ ำเจ้าพระยา ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้ าพระยาสูงมาก ไหลล้นคันกั้นน้ำทั้งสองฝั่ง วัดระดับน้ำท่วมที่สะพานสมเด็ จพระพุทธยอดฟ้าฯ ได้ 2.27 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
6. ปี 2518 พายุดีเปรสชั่นพาดผ่านตอนบนลุ่ มแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้มีปริมาณน้ำสู งทางภาคกลางตอนบน จนน้ำไหลล้นเข้าท่วมกรุงเทพฯ
7. ปี 2521 เกิดจากพายุ 2 ลูกคือ "เบส" และ "คิท" พาดผ่าน และมีน้ำไหลบ่าจากแม่น้ำป่าสัก ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าจากทุ่งด้ านตะวันออกเข้าท่วมพื้นที่กรุ งเทพฯ
8. ปี 2526 น้ำท่วมรุนแรงมาก เนื่องจากมีพายุพัดผ่านภาคเหนื อและภาคกลางช่วงเดือนกันยายน-ตุ ลาคม ประกอบกับมีพายุหลายลูกพัดผ่ านกรุงเทพฯ ช่วงเดือนตุลาคม วัดปริมาณฝนทั้งปี 2119 มม. มีปัญหาจราจรที่รถกับเรือใช้เส้ นทางเดียวกัน
9. ปี 2533 ในเดือนตุลาคมพายุโซนร้อน "อีรา" และ "โลล่า" พัดผ่านภาคอีสาน ทำให้ฝนตกหนักในกรุงเทพฯถึง 617 มม.
10. ปี 2537 เกิดพายุฝนฤดูร้อนถล่มกรุ งเทพฯและปริมณฑลเมื่อ 7-8 พฤษภาคม 2537 วัดปริมาณฝนมากที่สุดที่ เขตยานนาวา 457.6 มม. เฉลี่ยทั่วเขตกรุงเทพฯ มีปริมาณน้ำฝน 200 มม. มากที่สุดในประวัติการณ์ เรียกกันว่า "ฝนพันปี" เกิดน้ำท่วมฉับพลันในหลายพื้นที ่สร้างความเดือดร้อนทั่วกรุ งเทพฯ
11. ปี 2538 ฝนตกในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอีสาน เนื่องจากพายุหลายลูกพัดผ่าน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม และมีฝนตกหนักช่วงเดือนสิ งหาคมถึงตุลาคม เนื่องจากพายุ "โอลิส" ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้ าพระยาสูง วัดที่สะพานสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าฯ สูงถึง 2.27 เมตร (รทก.) สูงสุดเป็นประวัติการณ์ (เท่าน้ำท่วมปี 2485) ทำให้น้ำล้นคันป้องกันริมสองฝั่ งแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าท่วมพื้นที่ริมแม่น้ำสูงถึง 50-100 ซม. น้ำเหนือหลากท่วมอยุธยา ปทุมธานี หมู่บ้านไวท์เฮ้าส์ ตอนเหนือของกรุงเทพฯ นาน 2 เดือน
12. ปี 2539 มีระยะเวลาท่วมขังตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม 2539 ตั้งแต่หลังปี 2539 เป็นต้นมา ยังไม่เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมรุ นแรงในเขตกรุงเทพฯ มีเพียงน้ำท่วมขังไม่นานก็ ระบายออกได้สู่ภาวะปกติ
Source:News Center/matichon/ softbizplus. com (image)
by jatuporn เพราะด้วยเหตุนี้กรุงเทพฯ ในอดีตจึงมากไปด้วยคูคลอง จนได้รับการเรียกขานกันว่าเป็น "เวนิชตะวันออก"และเหตุการณ์น้
1. ปีมะเส็ง ปี 2328 ในรัชกาลที่ 1 ปีที่สร้
2. เดือนตุลาคม ปี 2362 ในรัชกาลที่ 2 ข้าวยากหมากแพงเหมือนครั้งแรก
3. เดือนพฤศจิกายน ปี 2374 ในรัชกาลที่ 3 ท่วมทั่วพระราชอาณาจักร และมากกว่าปีมะเส็ง
4. ปี 2460 ในรัชกาลที่ 6 น้ำท่วมลานพระบรมรูปทรงม้า จนมีกิจกรรมการแข่งเรือ
5. ปี 2485 เริ่มท่วมตั้งแต่ปลายเดือนกั
6. ปี 2518 พายุดีเปรสชั่นพาดผ่านตอนบนลุ่
7. ปี 2521 เกิดจากพายุ 2 ลูกคือ "เบส" และ "คิท" พาดผ่าน และมีน้ำไหลบ่าจากแม่น้ำป่าสัก ทำให้เกิดน้ำไหลบ่าจากทุ่งด้
8. ปี 2526 น้ำท่วมรุนแรงมาก เนื่องจากมีพายุพัดผ่านภาคเหนื
9. ปี 2533 ในเดือนตุลาคมพายุโซนร้อน "อีรา" และ "โลล่า" พัดผ่านภาคอีสาน ทำให้ฝนตกหนักในกรุงเทพฯถึง 617 มม.
10. ปี 2537 เกิดพายุฝนฤดูร้อนถล่มกรุ
11. ปี 2538 ฝนตกในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอีสาน เนื่องจากพายุหลายลูกพัดผ่าน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม และมีฝนตกหนักช่วงเดือนสิ
12. ปี 2539 มีระยะเวลาท่วมขังตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม 2539 ตั้งแต่หลังปี 2539 เป็นต้นมา ยังไม่เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมรุ
Source:News Center/matichon/ softbizplus.
12 ตุลาคม 2554 เวลา 18:14 น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น